หน้าหลัก
หน่วย1
หน่วย2
เทคโนโลยี
วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ประเภทของระบบเครือข่าย แบ่งตามลักษณะการติดตั้งทางภูมิศาสตร์แบ่งได้เป็น
4
ประเภท
1.
เครือข่ายท้องถิ่น (
Local Area Network : LAN )
เป็นเครือข่ายระยะใกล้ ใช้บริเวณเฉพาะที่เช่นภายในอาคารเดียวกัน หรือภายในบริเวณเดียวกัน ระบบแลนจะช่วยให้มีการติดต่อกันได้สะดวก ช่วยลดต้นทุน ช่วย
อ่านเพิ่มเติม
ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายที่ทำงานรวมกันเป็นกลุ่มงาน เรียกว่า
Workgroup
เมื่อเชื่อมโยงหลาย ๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกันจะเป็นเครือข่ายขององค์กร
จะเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่
สามารถประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวางโดยเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะเกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
อ่านเพิ่มเติม
อุปกรณ์สำคัญในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บริดจ์ (
Bridge)
เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (
LAN Segments)
เข้าด้วยกัน ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ
LAN
ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของ
อ่านเพิ่มเติม
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.
โทโปโลยีแบบบัส
เป็นโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ลักษณะการทำงานของเครือข่าย โทโปโลยีแบบบัส คืออุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหนดทุกโหนด ในเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียกว่า
”
บัส
” (BUS)
เมื่อ
อ่านเพิ่มเติม
โพรโทคอล
โพรโทคอลการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายที่ผลิตจากผู้ผลิตหลายรายผ่านทางระบบเครือข่ายชนิดต่างๆ กัน ไม่สามารถเชื่อมต่อโดยตรงกันได้ ดังนั้นต้องมีการเปลี่ยนรูปแบบของการส่งและกำหนดมาตรฐานทั้งทางฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ เพื่อให้อุปกรณ์สามารถติดต่อสื่อสารกันได้
อ่านเพิ่มเติม
การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม
ในการโอนถ่ายข้อมูลแบบอนุกรม ข้อมูลจะถูกส่งออกมาทีละบิต ระหว่างจุดส่งและจุดรับ การส่งข้อมูลแบบนี้จะช้ากว่าแบบขนาน การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม ต้องการตัวกลางสำหรับการสื่อสารเพียงช่องเดียว หรือสายเพียงคู่เดียว ค่าใช้จ่ายจะถูกกว่าแบบขนาน สำหรับการส่งระยะทางไกลๆ
อ่านเพิ่ม
เติม
การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน
การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน ทำได้โดยการส่งข้อมูลออกมาทีละหลายๆ บิตพร้อมกัน จากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ ตัวกลางระหว่างสองเครื่อง จึงต้องมีช่องทางให้ข้อมูลเดินทางหลายๆ ช่องทาง โดยมากจะเป็นสายนำ
สัญญาณหลายๆ เส้นโดยจำนวนสายส่งจะต้องเท่ากับจำนวนบิตที่ต้องการส่งแต่ละครั้ง
อ่านเพิ่มเติม
วิธีการถ่ายโอนข้อมูล
วิธีการถ่ายโอนข้อมูลเป็นการส่งสัญญาณออกจากเครื่องและรับสัญญาณเข้าไปในเครื่อง การถ่ายโอนข้อมูลสามารถจำแนกได้
2
แบบ คือ
1.
อ่านเพิ่มเติม
ระบบเครือข่ายไร้สาย
ระบบเครือข่ายไร้สาย (
Wireless LAN)
ระบบเครือข่ายไร้สาย
(Wireless LANs)
เกิดขึ้นครั้งแรก ในปี ค.ศ.
1971
บนเกาะฮาวาย โดยโปรเจกต์ ของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาวาย ที่ชื่อว่า
“ALOHNET”
ขณะนั้นลักษณะการส่งข้อมูลเป็นแบบ
Bi-directional
ส่งไป-กลับง่ายๆ ผ่านคลื่นวิทยุ
อ่านเพิ่มเติม
สื่อกลางไร้สาย
เป็นสื่อกลางประเภทที่ไม่มีวัสดุใดๆในการนำสัญญาณแต่จะใช้อากาศเป็นสื่อกลาง ซึ่งจะไม่มีการกำหนดเส้นทางให้สัญญาณเดินทาง สื่อหรือตัวกลางประเภทไร้สายมีดังนี้
อ่านเพิ่มเติม
สื่อกลางการสื่อสารข้อมูล
ตัวกลางหรือสายเชื่อมโยง เป็นส่วนที่ทำให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และอุปกรณ์นี้ยอมให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่าน จากผู้ส่งไปสู่ผู้รับ สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลมีอยู่หลายประเภท แต่ละประเภทมีความแตกต่างกันในด้านของปริมาณข้อมูล ที่สื่อกลางนั้น ๆ สามารถนำผ่านไป
ได้ในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง
อ่านเพิ่มเติม
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล (
Data Communications)
หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน
อ่านเพิ่มเติม
องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลมีองค์ประกอบ
5
อย่าง ได้แก่
1.
ผู้ส่ง (
Sender)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (
Message)
เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมีหน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น
2.
ผู้รับ (
Receiver)
เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่อ
อ่านเพิ่มเติม
ความหมายของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล (
Data Communications)
หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้
อ่านเพิ่มเติม
ความรู้เบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลสําหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นับเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า อย่างเช่นในสำนักงานหนึ่งมีเครื่องอยู่
30
เครื่อง หรือมากกว่านี้ ถ้าไม่มีการนำระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้ จะเห็นว่าต้องใช้เครื่องพิมพ์อย่างน้อย
5 - 10
เครื่อง มาใช้งาน แต่ถ้ามีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้แล้วละก้อ ก็สามารถใช้อุปกรณ์ หรือเครื่องพิมพ์ประมาณ
2-3
เครื่อง ก็พอต่อการใช้งานแล้ว เพราะว่าทุกเครื่องสามา
อ่านเพิ่มเติม
บทความที่ใหม่กว่า
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)